ภาวะพร่องออกซิเจน (Hypoxia) และอาการสำคัญที่ควรระวัง

ภาวะพร่องออกซิเจน (Hypoxia) และอาการสำคัญที่ควรระวัง

ภาวะพร่องออกซิเจน (Hypoxia) และอาการสำคัญที่ควรระวัง
ภาวะพร่องออกซิเจน (Hypoxia) และอาการที่ต้องระวัง

 

ปัญหาการนอนกรนเป็นปัญหาโลกแตกของใครหลายๆคน คนส่วนมากยังคงตามหาหมอนสุขภาพแก้กรนกัน mr.big เลยอยากบอกว่ามันไม่มีจริง เราลองมาทำความเข้าใจเกี่ยวกับอาการกรนกันก่อนดีกว่าครับ

อาการกรน เกิดจากการหย่อนตัวของกล้ามเนื้อบริเวณคอหอยหรือผนังลำคอ การอักเสบของทางเดินหายใจหรือภาวะอ้วน ซึ่งทำให้ทางเดินหายใจส่วนบนของเราตีบแคบลง เมื่อมีลมหายใจผ่านเข้าออกในหลอดลมที่แคบลงจึงเกิดเสียงเป็นการนอนกรน หรือ ในบางคนก็อาจมีการกระพือของเพดานอ่อนร่วมด้วยจึงมีเสียงกรนแตกต่างกัน

ปัจจัยหลักที่ทำให้เกิดการนอนกรนคือ

  • เป็นหวัด คัดจมูก
  • มีอายุที่มากขึ้น ส่งผลให้ลิ้นไก่หย่อนลง
  • มีน้ำหนักตัวมากขึ้นเกินกว่ามาตรฐานส่งผลให้มีไขมันบริเวณคอมากขึ้น
  • กรามตก หรือ ความผิดปกติของกระดูกขากรรไกรและการสบฟัน

หมอนสุขภาพที่จะเข้ามาช่วยทำให้อาการกรนหายขาดได้ยังไม่มี แต่การจัดท่านอนที่ถูกต้องจะช่วยให้อาการกรนขณะนอนหลับเบาลงได้ไม่รบกวนผู้อื่น และ ลดความเสี่ยงหยุดหายใจขณะนอนหลับ


แล้วท่านอนแบบไหน ที่จะช่วยลดอาการกรนได้?

  • ท่านอนตะแคง หรือ ท่านอนตะแคงกึ่งคว่ำ ควรใช้หมอน New BodyScale ควบคู่กับหมอน Body หรือควบคู่กับหมอนจัดท่านอน รุ่น Nine Pillow หรือ Jay Pillow ในการช่วยซัปพอร์ตให้การนอนตะแคงนอนได้ดีขึ้น โดยเลือกจากสรีระ น้ำหนัก และ ส่วนสูงของผู้นอน ด้วยโปรแกรม BestFIT

ท่านอนตะแคง

  • ท่านั่งหลับ ควรใช้หมอน Gerd และ หมอน Leg ควบคู่กันไปด้วย ซึ่งจะช่วยให้การนั่งหลับได้องศาที่พอดี และไม่ปวดหลัง

ท่านั่งหลับ

การนอนบนหมอนที่พอดีกับสรีระ ความสูงของหมอนองศาพอดีกับลำตัว และการจัดท่านอนที่ถูกต้อง จะส่งผลทำให้อวัยวะต่างๆของเราไม่ว่าจะเป็น ลิ้นไก่ กราม หรือ ผนังในช่วงลำคอ ไม่ไปทำให้ทางเดินหายใจตีบแคบลง แต่จะสามารถใช้ได้กับบางกรณีที่มีอาการกรนในระดับต่ำถึงปานกลางเท่านั้น แต่ถ้าหากมีอาการหยุดหายใจขณะนอนหลับซึ่งเป็นระดับรุนแรงควรต้องรีบพบแพทย์เพื่อหาวิธีการรักษาต่อไป

อ้างอิงจากบทสัมภาษณ์ กภ.ชวกิจ เก้าเอี้ยน นักกายภาพบำบัด วันที่ 8 มีนาคม 2567